ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Faculty of Medicine, Prince of Songkla University) เป็นคณะลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515 เริ่มรับนักศึกษารุ่นแรกเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นโรงเรียนแพทย์ที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 6 ของประเทศไทย เป็นโรงแพทย์แห่งแรกของภาคใต้ที่ได้รับการรับรองจากแพทยสภาและเป็นแห่งที่ 5 ของประเทศ ถัดจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ปัจจุบันเปิดสอนในสายวิชาชีพแพทยศาสตร์ และสายวิชาการในด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา

เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข รวมทั้งปัญหาด้านสาธารณสุขของภาคใต้ สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงได้ขอจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ขึ้นในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2511 และได้รับการอนุมัติให้ก่อตั้งได้ในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ซึ่งจัดเป็นคณะลำดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีประกาศลงราชกิจานุเบกษาเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2515

สภามหาวิทยาลัยได้ให้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ที่วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และเริ่มรับนักศึกษารุ่นแรกได้ จำนวน 35 คน ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2516 โดยใช้สถานที่ของคณะวิทยาศาสตร์ในการเรียนภาคทฤษฎี และระยะแรกใช้โรงพยาบาลหาดใหญ่ และโรงพยาบาลสงขลา ในการเรียนภาคปฏิบัติ

ต่อมาเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2519 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์โรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงกระทำพิธีเปิด เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2529 และพระราชทานนามของโรงพยาบาลว่า "โรงพยาบาลสงขลานครินทร์"

หมายเหตุ *** หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะพิเศษ คือเป็นหลักสูตรที่ใช้กับนักศึกษาที่ศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตไปแล้วระยะหนึ่ง และไม่มีความประสงค์จะศึกษาต่อในชั้นปีที่ 4-6 โดยนักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนให้ครบในรายวิชาที่เรียนในชั้นปีที่ 1-3 และเพิ่มวิชาชีพเลือกอีก 11 หน่วยกิตกับวิชาเลือกเสรีอีก 3 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรเป็น 132 หน่วยกิต ก็สามารถยื่นคำร้องขอสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้

คณะแพทยศาสตร์ รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิตและวิทยาศาสตรบัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ที่ตั้งใจเรียนแพทย์ได้มีโอกาสเข้าศึกษา โดยรับนักศึกษาเฉพาะในภาคใต้ร้อยละ 50 ในปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ได้รับนักศึกษาในโครงการต่างๆดังนี้

ราตรีนี้สีเขียว (Green Night) เป็นงานที่จัดขึ้นเพื่อรวมสายรหัสทุกสายตั้งแต่ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 1 ไปจนถึงอาจารย์แพทย์ โดยในงานจะมีการรับประทานอาหารร่วมกันเป็นโต๊ะสายรหัส จากนั้นจะมีกิจกรรมการแสดงของแต่ละชั้นปีตั้งแต่ปี1,2,3 และการแสดงของอาจารย์ ซึ่งในงานนี้จะมีกิจกรรมสำคัญคือการประกวดดาว-เดือนคณะแพทยศาสตร์คัดจาก ชาย 5 คน หญิง 5 คน ซึ่งจะมีการให้คะแนนจากกรรมการ และเปิดรับคะแนน popular vote จากดอกไม้ในงาน ณ ห้องทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์

บาก้าอวอร์ด (Baka Award) เป็นการประกวดดนตรีของนักศึกษาและบุคลากรของคณะสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ (แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ การแพทย์แผนไทย และเทคนิคการแพทย์) โดยก่อนหน้านั้นมีการจัดประกวดร้องเพลงและดนตรีภายในคณะแพทยศาสตร์มาก่อนแล้วโดยใช้ชื่อเดียวกันนี้ ซึ่งตั้งตามคำในบูมคณะแพทยศาสตร์ แต่ได้หยุดการประกวดไปนานหลายปี จนถึงปี พ.ศ. 2543 จึงเริ่มขึ้นอีกครั้ง โดยชมรมดนตรีสากลคณะแพทยศาสตร์เป็นผู้จัด และมี ผศ.พญ.มยุรี วศินานุกร เป็นที่ปรึกษาการประกวด ในปีแรกการจัดเป็นการจัดภายในคณะโดยประกาศรับสมัครล่วงหน้าเป็นเวลานาน แต่มีผู้สมัครเข้ามาจำนวนน้อย จนถึงใกล้วันสมัครจึงมีผู้สมัครเข้ามาอย่างมากมายทำให้เมื่อถึงวันประกวดจริง กำหนดการแสดงต่างๆยาวนานไปจนจบตอนใกล้เวลา 2.00 นาฬิกาของอีกวัน ในครั้งนั้นมีการประกวดสองประเภทคือ โฟลค ซอง (Folk song) และประกวดร้องเพลง

ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ได้เชิญคณะพยาบาลศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และทันตแพทยศาสตร์เข้าร่วมด้วย โดยยังคงมีสองประเภทของการแข่งขันเหมือนครั้งก่อน แต่ได้รับการตอบรับล่วงหน้ามากกว่าเดิม ทำให้มีการจัดรอบคัดเลือกก่อนหน้าที่จะแข่งขันจริง และในปลายปีเดียวกันได้มีการจัดขึ้นอีกครั้งเป็นการภายในคณะ ปีต่อมาได้เพิ่มการแข่งขันประเภทฟรีสไตล์ ซึ่งอาจเป็นการร้องเพลงอย่างเดียว หรือเล่นดนตรีผสมกันได้ โดยไม่จำกัดประเภทของเครื่องดนตรี และในปี พ.ศ. 2549 ได้แยกการแข่งขันวงสตริงออกจากประเภทฟรีสไตล์ ปัจจุบันการแข่งขันจึงแบ่งออกเป็นสี่ประเภท คือ การขับร้อง โฟล์คซอง ฟรีสไตล์ และวงสตริง โดยในรอบชิงชนะเลิศจะทำการแข่งขันทั้งสี่ประเภทนี้ตามลำดับ ณ ห้องทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์ อาคารเรียนรวมและหอสมุด[ต้องการอ้างอิง]

เป็นการจัดค่ายอาสาเพื่อสร้างอาคารเรียนให้โรงเรียนที่ห่างไกล โดยเริ่มในปีแรก พ.ศ. 2543 ที่โรงเรียนสระหมื่นแสน อ.ระโนด จ.สงขลา เป็นการสร้างอาคารคารอเนกประสงค์ สนามเด็กเล่น และออกให้สุขศึกษาแก่ชาวบ้านแถบนั้น ในช่วงเวลาที่ นักศึกษาแพทย์ปิดภาคเรียน ปัจจุบันโรงเรียนสระหมื่นแสนได้ปิดตัวเองลงไปเนื่องจากมีนักเรียนน้อยเกินไป จากนั้นจึงได้มีจัดค่ายเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ สโมสรนักศึกษาคณะได้จัดคอนเสิร์ตเพื่อนำรายได้สมทบทุนค่ายอาสา โดยกลุ่มศิลปินที่เคยเปิดการแสดงคอนเสิร์ตดังกล่าว ได้แก่ ศุ บุญเลี้ยง (พ.ศ. 2544) บอดี้สแลม (พ.ศ. 2545) แคลช โมเดิร์นด็อก (มกราคม พ.ศ. 2550) พาราด็อกซ์ (กันยายน พ.ศ. 2550) และฟลัวร์ (มกราคม พ.ศ. 2552)[ต้องการอ้างอิง]

งานรับเสื้อกาวน์จะจัดขึ้นในเดือนมกราคมของทุกปี โดยนักศึกษาแพทย์ปี 3 ที่กำลังจะขึ้นชั้นคลินิกจะได้เข้าร่วมพิธีรับมอบเสื้อกาวน์จากอาจารย์แพทย์ ณ ห้องทองจันทร์ หงส์ลดารมภ์จากนั้นจึงกำหนดวันใดวันหนึ่ง เพื่อถ่ายรูปเก็บความทรงจำที่หน้าลานพระบิดาในตอนเช้า จะมีสายรหัสมาร่วมถ่ายรูป แสดงความยินดี รวมทั้งเพื่อนๆคณะอื่นได้มาร่วมแสดงความยินดีกันอย่างคับคั่ง หลังจากงานรับเสื้อกาวน์ตอนเช้าแล้วสายรหัสส่วนใหญ่จะไปเลี้ยงสายกัน จากนั้นตอนกลางคืนจะมีการจัดงานพร้อมกันขึ้นเพื่อเลี้ยงสังสรรค์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคโลหิตจาง โรคธาลัสซีเมีย เท้า ขา นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วมือ มือ ปลายแขน ข้อศอก ไหล่ แขน อวัยวะเพศ ทรวงอก สะดือ ลำตัว ลูกกระเดือก คอ แก้ม ใบหน้า ศีรษะ ชีวกลศาสตร์ ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ กายวิภาคเปรียบเทียบ ศัลยแพทย์ พยาบาล นักกายภาพบำบัด กายสัณฐานวิทยา จุลพยาธิวิทยา กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบ กายวิภาคศาสตร์พืช Anatomy แพทยศาสตรบัณฑิต การแพทย์แผนไทย เวชพันธุศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ เวชศาสตร์การกีฬา ศัลยศาสตร์ออร์โทพีดิกส์ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พยาธิวิทยาคลินิก นรีเวชศาสตร์ ศัลยศาสตร์ตกแต่งและเสริมสร้าง ประสาทศัลยศาสตร์ วิทยามะเร็ง วิทยาทางเดินอาหาร โรคภูมิแพ้ หทัยวิทยา การแพทย์เฉพาะทาง รายชื่อคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงเรียนแพทยากร เวชสถิติ เวชระเบียน เวชศาสตร์ฟื้นฟู อาชีวเวชศาสตร์ ตจวิทยา รังสีวิทยา จิตเวชศาสตร์ จักษุวิทยา นิติเวชศาสตร์ โสตศอนาสิกวิทยา นรีเวชวิทยา สูติศาสตร์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยศาสตร์ อายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ ขมิ้นอ้อย วาซาบิ ขมิ้น มะขาม กุหลาบมอญ ทับทิม (ผลไม้) Nigella sativa ชะเอมเทศ เปราะหอม ข่า (พืช) ลูกซัด (พืช) ผักชีล้อม เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
246
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24608